The knowledge gained
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Science Provision for Early Childhood)
: พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา มีการเปลี่ยนแปลงไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง เปรียบเสมือน การคว่ำ การคืบ การคลาน เหมือนขั้นบันได
- การนำไปประยุกต์ใช้
การเลือกจัดกิจกรรมประสบการณ์ที่เหมาะสมในแต่ละพัฒนาการ

* ความรู้เพิ่มเติม *
พัฒนาการทางสติปัญญา นักทฤษฎีได้แก่ เพียเจต์ (Piaget) ได้แบ่งพัฒนาการไว้ 4 ขั้น ดังนี้
1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี สัมผัส จับ แตะต้องสิ่งของ หรือสิ่งเร้าภายนอก
2.ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี ใช้ภาษา มีความคิดเป็นของตัวเอง ยังใช้เหตุผลไม่ได้
3.ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) เริ่มจากอายุ 7-11 ปี
4.ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) นี้จะเริ่มจากอายุ 11-15 ปี
อาจารย์ตรวจดูบล็อกนักศึกษาให้ปรับปรุงแก้ไข
ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ทักษะกระบวนการวิทยศาสตร์
: เด็กได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถแก้ไขปัญหาได้
1. ความหมายทักษะการสังเกต
คือ การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ปาก ลิ้น ผิวกาย สัมผัสโดยตรงกับวัตถุ มีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลเป็นรายละเอียด
2. ความหมายทักษะการจำแนกประเภท
คือ ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งโดยหาเกณฑ์
2.1 ความเหมือน เช่น รูปทรง
2.2 ความแตกต่าง เช่น เราใช้เกณฑ์ตั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ชนิดใดไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเช่น สัตว์ปีก สัตว์น้ำ คัดออกไปจากเกณฑ์
2.3 ความสัมพันธ์ร่วม เช่น สิ่งของ 2 อย่างมีเหมือนกัน เช่น รถกับถนน รถเป็นพาหนะ ถนนเป็นสิ่งที่ต้องพึ่ง มีความสัมพันธ์ร่วมกัน
3. ความหมายทักษะการวัด (มีการใช้เครื่องมือคณิตศาสตร์)
คือ การใช้เครื่องมือต่างๆวัดปริมาณของสิ่งที่เราต้องการโดยมีหน่วยการวัดกำกับ
3.1 รู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
3.2 เลือกเครื่องมือที่นำมาใช้วัด
3.3 วิธีการที่เราจะวัด
คือ การพูด การเขียน รูปภาพ ภาษาท่าทาง ความสามารถการรับรู้ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน
4.1 บรรยายลักษณะ คุณสมบัติของวัตถุ
4.2 บันทึการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ สมุดจดบันทึก
4.3 บอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ไดเจากการกระทำ
4.4 จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
5. ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
คือ การเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล อาศัยความรู้ ประสบการณ์
5.1 ลงข้อมูลสรุปสิ่งต่างๆ
5.2 ข้อสรุปความสัมพันธ์
5.3 การสังเกตความเปลี่ยนแปลง
6. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
คือ การรู้จักเรียนรู้ 1มิติ 2มิติ 3มิติ ของทิศทาง
6.1 ชี้บ่งภาพ 2มิติ 3มิติ
6.2 บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางของวัตถุ
6.3 บอกตำแหน่งหรือทิศทางของวัตถุ
6.4 บอกตำแหน่งซ้าย ขวา
7. ความหมายทักษะการคำนวณ
คือ ความสามารถในการนับจำนวนของวัตถุ การบวก ลบ คูณ หาร การนับจำนวนของวัตถุ

1. สิ่งที่กำหนดให้
สังเกต / จำแนก / วัด / สื่อความหมาย / ลงความเห็น / หาความสัมพันธ์ / การคำนวณ
2. หลักการหรือกฎเกณฑ์
เป็นข้อกำหนดสำหรับใช้แยกส่วนประกอบของสิ่งที่กำหนดให้
3. การค้นหาความจริงหรือความสำคัญ
เป็นการพิจารณาส่สนประกอบของสิ่งที่กำหนดให้ตามหาหลักเกณฑ์แล้วทำการรวบรวมประเด็นที่สำคัญเพื่อหาข้อสรุป
Evaluation
Teacher Evaluation : อาจารย์น่ารัก สอนได้เข้าใจดีค่ะ มีพาวเวอร์พ้อยประกอบกับการสอน
Self-assessment : วันนี้ฉันเข้าเรียนสายประมาน 5 นาที ตั้งใจฟังและจดตามที่อาจารย์สอน
Evaluate friends : เพื่อนๆตั้งใจเรียนดีค่ะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น